บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 3
วันศุกร์ ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
เวลา 14.10-17.30
จุดมุ่งหมายของการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
1)เพื่อให้เด็กมีความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ เป็นการรู้จักคำศัพท์
2)เพื่อพัฒนามโนภาพเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ เป็นการบวกลบ
3)เพื่อให้เด็กรู้จักและใช้กระบวนการหาคำตอบ
4)เพื่อให้เด็กฝึนฝนคณิตศาสตร์พื้นฐาน
5)เพื่อให้เด็กมีความรู้ความเข้าใจ
6)เพื่อส่งเสริมให้เด็กค้นคว้าหาคำตอบด้วยตัวเอง
ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
1. การสังเกต (observation)
1.1)การใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่งมารวมกัน
2. การจำแนกปีะเภท (classifying)
2.1)การแบ่งประเภทส่งของโดยหาเกณฑ์
2.2)เกณฑ์ในการจำแนกคือความเหมือน
3. การเปรียบเทียบ (comparing)
3.1)เด็กต้องอาศัยความสัมพันธ์ของวัตถุสิ่งของหรือเหตุการณ์ สองสิ่งขึ้นไป
3.2)เด็กต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะของสิ่งนั้น และรู้จักคำศัพท์คณิตศาสตร์ที่ต้องใช้
4. การจัดลำดับ (ordering)
4.1)เป็นการเปรียบเทียบขั้นสูง
4.2การจัดความสำคัญวัตถุสิ่งของหรือเหตุการณ์
5. การวัด (measurement)
5.1)มีความสัมพันธ์กับความสามารถในการอนุรักษ์
5.2)การวัดสำหรับเด็กปฐมวัย ได้แก่ อุณหภูมิ ระยะทาง ความยาว น้ำหนัก ปริมาณ
*การวัดของเด็กปฐมวัย ไม่ใช่หน่วยมาตรฐานในการวัด
6. การนับ (counting)
6.1)เด็กชอบการนับแบบท่องจับโดยไม่เข้าใจความหมาย
6.2)การนับแบบท่องจำ จะมีความหมายต่อเมื่อเชื่อมโยงกับจุดประสงค์บางอย่าง
7. รูปทรงและขนาด (sharp and size)
7.1)เด็กส่วนใหญ่มีความรู้เกี่ยวกับรูปทรง และขนาดก่อนที่จะเข้าเรียน
กิจกรรมวันนี้
อาจารย์ให้วาดรูปวงกลม แล้วให้ นักศึกษา เขียนตัวเลขลงไปในวงกลม ว่า ชอบเลขอะไร
แล้วอาจารย์ก็ให้นักศึกษาตัดกลีบดอกไม้แต่งวงกลม จำนวนกลีบตามตัวเลขที่นักศึกษาเขียนลงไป
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น